สาขาวิชาเครื่องกล วิทยาลัยเทคนิคนครพนม => การเรียนการสอน 1/60 => การเรียนการสอน => งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น => ข้อความที่เริ่มโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:06:03

หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:06:03
ตรงนี้มีภาพ! แต่ท่านจะมองไม่เห็น , ท่านต้อง  สมัครสมาชิก หรือ ลงชื่อเข้าระบบ
 (http://upic.me/show/61088407)



   มาจากที่นี่... https://oneprojects.blogspot.com/

 :-X
หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:11:49
แบบใช้ IC NE555

หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:12:58
ไฟกระพริบแบบตำรวจ

- ทำไฟกระพริบตำรวจ police light flasher

หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:14:12
- ไฟเบรก กระพริบและค้าง

หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:15:49
วงจรไฟเบรกกระพริบค้าง
- ประกอบลงปริ๊นท์

หัวข้อ: ไฟกระพริบ กระพริบต่อเนื่อง 3 ดวง
เริ่มหัวข้อโดย: Auto Man ที่ 04 กรกฎาคม 2560, 07:36:30
- วงจรไฟกระพริบ (วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์)
http://noppol.edsup.org/wordpress/?p=486

ตรงนี้มีภาพ! แต่ท่านจะมองไม่เห็น , ท่านต้อง  สมัครสมาชิก หรือ ลงชื่อเข้าระบบ


รายการอุปกรณ์

1 ตัวต้านทาน 1KΩ 1/4W 2 ตัว
2 ตัวต้านทาน 100Ω 1/4W 2 ตัว
3 ตัวเก็บประจุแบบอิเล็กโตรไลต์ 10μf/16V 2 ตัว
4 หลอด LED 3 มม. 2 ตัว(สีใดก็ได้)
5 ทรานซิสเตอร์เบอร์ BC547B จำนวน 2 ตัว

การสร้างวงจร

1 สร้างลายวงจรด้วยโปรแกรม Fritzing
2 ใส่ชื่อผู้ออกแบบลายวงจรเป็นภาษาอังกฤษลงในลายทองแดง

ตรงนี้มีภาพ! แต่ท่านจะมองไม่เห็น , ท่านต้อง  สมัครสมาชิก หรือ ลงชื่อเข้าระบบ


คะแนน

ออกแบบลายวงจร 10 คะแนน
สร้างวงจร+ติดตั้งอุปกรณ์ 10 คะแนน
วงจรทำงานได้อย่างถูกต้อง 5 คะแนน

เพิ่มเติม
                     วงจรอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ (Astable Multivibrator) เป็นวงจรกำเนิดคลื่นสี่เหลี่ยม วงจรเบื้องต้นประกอบด้วยทรานซิสเตอร์ ชนิด NPN ตัวเก็บประจุ ตัวต้านทาน  และไดโอดเปล่งแสง  ลักษณะวงจรและลายวงจรพิมพ์ดังรูป
 


                         วงจรไฟกระพริบ วงจรนี้ต้องการแรงดันไฟตรง ประมาณ 3-12 โวลท์ การทำงานของวงจรจะส่งผลให้ไดโอดเปล่งแสด D1 และ D2 ทำงานเปล่งแสงติดดับสลับไปสลับมา ตามสภาวะการทำงานของทรานซิสเตอร์ Q1 และ Q2 นั่นคือ เมื่อ Q1 ทำงาน D1 ติดสว่าง D2 ดับ และเมื่อ Q2 ทำงาน D2 ติดสว่าง D1 ดับ สลับไปมาตลอดเวลา ความเร็วในการกระพริบติดและดับขึ้นอยู่กับค่าความต้านทาน R1 C1 และ R2 C2  ดังนี้

                           t1 = 0.693*R2*C2........................................(1)

                           t2 = 0.693*R1*C1........................................(2)

                           เมื่อ   

                                         t1 คือ       ระยะเวลาที่ไดโอดเปล่ง D1 ติดสว่าง

                                         t2 คือ       ระยะเวลาที่ไดโอดเปล่ง D2 ติดสว่าง

                                         R1 คือ      ค่าความต้านทาน R1

                                         C1 คือ      ค่าตัวเก็บประจุ C1

                                         R2 คือ      ค่าความต้านทาน R2

                                         C2 คือ      ค่าตัวเก็บประจุ C2